วันอาทิตย์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2556
29 September 2556 ( บันทึกการเข้าเรียน วันที่ 29 สิงหาคม 2556)
Teaching and learning activities
(กิจกรรมการเรียนการสอน) การเรียนชดเชย
อาจารย์ให้อกไปนำเสนองานวิทยาศาสตร์ทั้ 3 ชิ้น ของตัวเอง
สื่อชิ้นที่ 1 สื่อที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง
ร่มชูชีพ
วัสดุอุปกรณ์
1. ถุงพลาสติก 2. กรรไกร
3. เชือก หรือ เส้นด้าย 4. ดินน้ำมัน
วิธีการทำ
1. นำกรรไกรมาตัดถุงพลาสติกให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส
2. นำเชือกมาผูกที่มุมทั้งสี่ด้านของถุงที่ตัดไว้
3. นำดินนำมันมาถ่วงไว้ที่ปลายเชือกทั้งสี่ด้าน
วิธีการเล่น
ปล่อยร่มชูชีพจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ หรือโยนขึ้นไปบนท้องฟ้าร่มชูชีพจะค่อยๆ หล่นลงมาอย่างช้าๆ
หลักการวิทยาศาสตร์
เนื่องจากภายในอากาศมีแรงดันอยู่แล้ว เมื่อมีการปล่อยให้ร่มชูชีพหล่นลงมาเอง เพราะในอากาศนั้นมีแรงดันอยู่แล้ว
สื่อชิ้นที่ 2 การทดลอง
กระดาษลอยได้
วัสดุอุปกรณ์
1.ซองกระดาษ 2.ดินน้ำมัน 3.ขวด 4.แกนไม้ 5.เทียนไข 6.ไม้ขีดไฟ 7.ฐานตั้งรูปสามเหลี่ยม
วิธีการทำ
1.นำซองกระดาษมาติดไว้ที่ปลายไม้ที้งสองด้าน
2.นำดินน้ำมันมาตั้งบนที่ตั้งสามเหลี่ยมแล้วนำไปตั้งบนขวด
3.นำไม้ไปตั้งบนปากขวดโดยให้มีระดับที่เท่ากัน
วิธีการเล่น
นำไม้ขีดไฟมาจุดที่แทนไขแล้วไปตั้งใต้วองกระโาษข้างใดข้างหนึ่งข้างที่มีแทนอยู่กระดาษจะลอยขึ้นข้างบน
หลักการวิทยาศาสตร์
เป็นเพราคุณสมบัติของอากาศที่เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวและลอยสูงขึ้น จึงทำให้ซองกระดาษลอยตัว เหมือนกับโคมลอยนั่นเอง
เป็นเพราคุณสมบัติของอากาศที่เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวและลอยสูงขึ้น จึงทำให้ซองกระดาษลอยตัว เหมือนกับโคมลอยนั่นเอง
สื่อชิ้นที่ 3 สื่อเข้ามุม
วงจรชีวิตกบ
วัสดุอุปกรณ์
1.กระดาษ 100 ปอด์น 2.กรรไกร 3.สีไม้
4.กระดาษลัง 5.กาว 6.ดินสอ-ยางลบ
วิธีการทำ
1.นำกรดาษลัง และกระดาษ 100 ปอด์นมาติดเป็นรูปวงกลม แล้วตัดด้วยกรรไกร
2.นำกาวมาติดที่กระดาษลังกับกระดาษ 100 ปอด์น
3.วาดภาพกบลงไปในกระดาษ 100 ปอด์น
4.ระบายสี
5.เจาะรูตรงกลสงแล้ว นำที่ติดมแปะตรงกลาง
วิธีการเล่น
หมุนกระดาษตามลูกศรที่กำหนดจะพบกับการเปลี่ยนแปลงของกบ
หลักการและเหตุผล
กบมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ตอนแรกจะเป็นไข่ ต่อมาเป็นลูกอ็อด ต่อมาเป็นลูกกล และเป็นกบในที่สุด ทั้งนี้เพราะเกิดจากวงจรการเกิดแก่จับตาย และมีการสืบพันธ์อยู่เรื่อยๆๆ
วันพฤหัสบดีที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2556
I attended the 16 / 25 September 56 ( บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 16 / 25 ก.ย. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
I attended the 15 / 18 September 56 ( บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 15 / 18 ก.ย. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
วันนี้การเรียนในห้องเรียนคือ การทำไข่ตุ๋น
วัสดุ
ไข่ไก่ ผงปรุงรส แครอท มะเขือเทศ
ซีอิ๊วขาว เนื้อไก่ หรือเนื้อหมู เห็ดหอม ผักชี น้ำเปล่า
อุปกรณ์
มีด เขียง ถ้วย หม้อนึ่ง ช้อน ที่ตีไข่
วิธีทําไข่ตุ๋นมีดังนี้
1. ตอกไข่ใส่ชาม ตีไข่โดยใช้ตะเกียบคนจากซ้ายไปขวา หรือ บนลงล่างเท่านั้น
2. เติมอุซึคุจิโชยุ หรือ ซีอิ๊วขาวลงไป สีของไข่จะออกคล้ำขึ้นเล็กน้อย
3. ใส่ผงปรุงรสที่ละลายน้ำแล้วลงไปคนให้เข้ากัน
4. ขั้นตอนสำคัญ คือต้องกรองไข่ที่ตีแล้วด้วยกระชอนตาถี่ หรือผ้าขาวบางก็ได้ลงในกะมังอีกใบหนึ่งเศษไข่ขาวที่ติดในกระชอนทิ้งไปได้เลย
5. เปิดแก็ส ตั้งลังนึ่ง ใส่น้ำ และเปิดไฟแรงจัด
6. แบ่งเครื่องปรุงต่างๆ พวกเนื้อไก่, เห็ดหอม, แปะก๊วย,เนื้อปลา,ลูกชิ้นปลา,ผักชี ใส่ถ้วยทั้ง 4ถ้วยให้เรียบร้อย
7. เอาไข่ที่เราเตรียมไว้แล้วแบ่งใส่ถ้วยให้เท่าๆกัน ปิดด้วยฟอยล์เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำหยดลงบนไข่ตุ๋น
8. เมื่อน้ำที่เราตั้งไว้เดือดเรียบร้อยแล้วให้หรี่ไฟให้อ่อนที่สุด แล้วนำไข่ตุ๋นที่ใส่ถ้วยเตรียมไว้ไปใส่ในลังนึ่งนึ่งไปสักประมาณ 15 นาทีก็เป็นอันเสร็จพิธี ก็จะได้ไข่ตุ๋นโอชินที่มีเนื้อเนียนน่ารับประทาน
ข้อควรระวัง: อย่าใช้ช้อนส้อมคนไข่มากเกินไปจนเกิดฟอง, อย่าลืมกรองไข่ก่อนนำไข่ไปตุ๋น และ อย่าเปิดไฟแรงเกินไป มิฉะนั้นไข่ตุ๋นจะหน้าไม่เนียน
I attended 15 September 56 ( บันทึกการเข้าเรียน 15 ก.ย. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
การเรียนชดเชย
อาจารย์ได้ให้คำแนะนำในการปรับปรุงแก้ไข blogger ของนักศึกษาแต่ละคน
อาจารย์ให้นักศึกษา ทำกิจกรรมกลุ่ม "เขียนแผนการสอนวิทยาศาสตร์ในการทำอาหารสำหรับเด็ก"
- อาจารย์ให้นักศึกษาเดินมาหยิบกระดาษชาร์ตกลุ่มละ 4แผ่น และสีเมจิกลุ่มละ 4 อัน
- อาจารย์บอกว่าวันนี้เราจะมาเรียนในเรื่องการทำอาหารที่เหมาะสำหรับเด็ก
- อาจารย์และนักศึกษาได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าอาหารอะไรที่เหมาะสำหรับเด็ก บ้างให้เขียนลงในกระดาษ ชาร์ตที่อาจารย์ได้แจก และให้นักศึกษาแตกแมทออกไป
ความรู้ที่ได้รับ
1. การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ในสิ่งที่เด็กอยากรู้
2. ได้รับฟังและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนกลุ่มอื่นๆ
การนำไปประยุกต์ใช้
1. การจัดประสบการณ์การทำอาหารให้กับเด็กปฐมวัย
2. การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ไว้ล่วงหน้าก่อนการสอนจะเป็นผลดีแก่ครูและนักเรียน
ส่งอีเมลข้อมูลนี้
I attended the 14 / 11 September 56 ( บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 14 / 11 ก.ย. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
***ไม่มีการเรียนการสอนอาจารย์จะสอนชดเชยในวันที่ 15 กันยายน 2556
I attended the 13 / 4 September 56 ( บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 13 / 4 ก.ย. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
***ไมมีการเรียนการสอนแต่อาจารย์จะชดเชยให้ในวันที่ 15 กันยายน 2556
วันอังคารที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2556
I attended the 12 / 28 August 56 ( บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 12 / 28 ส.ค. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
ศึกษาดูงานที่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
และ
โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จังหวัดบุรีรัมย์
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
เป็นหน่วยงานสังกัดคณะครุศาสตร์ เดิมมีสภาพเป็นศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย ใช้ชื่อ “ ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยสิงหราช” ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2530 มีอาคารสิงหราช (เดิมเป็นหอพักนักศึกษา) เป็นอาคารเรียนเปิดสอนระดับอนุบาล
พ.ศ. 2536 ได้เปลี่ยนสถานภาพเป็น “ โรงเรียนสาธิตวิทยาลัยครูนครราชสีมา” เปิดสอนระดับบริบาลและอนุบาล
พ.ศ. 2538 วิทยาลัยครูนครราชสีมาได้รับการยกฐานะ เป็นสถาบันราชภัฏนครราชสีมา โรงเรียนสาธิตวิทยาลัยครูนครราชสีมา จึงมีชื่อใหม่ว่า “ โรงเรียนสาธิตสถาบันราชภัฏนครราชสีมา”
พ.ศ. 2547 สถาบันราชภัฏนครราชสีมา ได้รับการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โรงเรียนสาธิตสถาบันราชภัฏนครราชสีมา จึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา”
พ.ศ. 2548 โรงเรียนสาธิตฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาจากสำนักงาน รับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) รอบที่ 1 โดยมีการประเมิน 3 ด้าน คือ ด้านผู้บริหาร ด้านครู และด้านผู้เรียน
พ.ศ. 2549 มหาวิทยาลัยมีนโยบายขยายการเปิดชั้นเรียนประถมศึกษาปีที่ 1 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 และลำดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2,3,4,5 และ 6 ในปีต่อ ๆ ไป
พ.ศ. 2551 โรงเรียนสาธิตฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา จากสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษา และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) รอบที่ 2 โดยมีการประเมิน 3 ด้าน คือ ด้านผู้บริหาร ด้านครู และด้านผู้เรียน
โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
หรือ "โรงเรียนนอกกะลา" เป็นโรงเรียนเอกชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร ในสังกัดของ กลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์เขต 1 เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตั้งอยู่ในจังหวัดบุรีรัมย์ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2546 โดยมูลนิธิลำปลายมาศพัฒนา โดยการ ได้เปิดทำการเรียนการ สอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2546 เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2546 จำนวน 3 ชั้นเรียน ได้แก่ ชั้นอนุบาล 1 ชั้นอนุบาล 2 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ได้คัดเลือกเด็กจากเด็กทั่วไปโดยวิธีจับฉลาก นักเรียนที่เข้าเรียนไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน
ข้อพิจารณาที่สำคัญคือ ผู้ปกครองต้องพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับโรงเรียนฯ ในการพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ ปัจจุบันมูลนิธิลำปลายมาศพัฒนา] เป็นผู้ถือใบอนุญาตโรงเรียนฯ และเปิดทำการเรียนการสอนครบ 11 ชั้นเรียน คือ ชั้นอนุบาล 1–2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนาโดยมูลนิธิลำปลายมาศพัฒนา เป็นโรงเรียนเอกชนที่ไม่เก็บค่าเล่าเรียน มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นโรงเรียนตัวอย่าง เริ่มดำเนินการจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ปีการศึกษา 2546 ถึงปัจจุบัน ในระดับชั้นอนุบาลประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น มีนักเรียนทั้งหมด 240 คน มีครู 30 คน รับนักเรียนโดยการจับฉลาก โรงเรียนฯ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 50.2 ไร่ ในเขตอำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยเงินของมูลนิธิลำปลายมาศพัฒนา สร้างเสร็จและเปิดทำการเรียนการสอนเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2546
ตั้งแต่เริ่มต้น นายเจมส์ คลาร์ก เป็นผู้สนับสนุนในเรื่องการลงทุนก่อสร้างโรงเรียน และสิ่งสนับสนุนทั้งหมดแต่เพียงผู้เดียว เป็นจำนวนเงินประมาณ 52.5 ล้านบาท นอกจากนั้น นายเจมส์ คลาร์ก ยังสนับสนุนในเรื่องค่าใช้จ่ายดำเนินการของโรงเรียนทั้งหมด ตั้งแต่ ปี 2546 - 2553 เป็นเงิน 52.5 ล้านบาท รวมเป็นเงินที่ นายเจมส์ คลาร์ก สนับสนุนโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนาถึงปัจจุบันเป็นเงินทั้งสิ้น 105 ล้านบาท
I attended the 11 / 21 August 56 ( บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 11 / 21 ส.ค. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
**ไม่มีการเรียนนการสอน**
-
มอบหมายงานให้ไปหาข้อมูลที่เราจะไปศึกษาดูงาน
และเตรียมตัวตามหน้าที่ขอตนเองที่ได้
I attended the 10 / 14 August 56 ( บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 10 / 14 ส.ค. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
2.แบ่งหน้าที่การรับผิดชอบของแต่ล่ะคน โดยประกอบด้วย
1. ฝ่ายการประสานงาน 7 คน
2. ฝ่ายประชาสัมพัธ์ 5 คน
3. ฝ่ายประเมินผล 7 คน
4. ฝ่ายงบประมาณ 4 คน
5. ฝ่ายลงทะเบียน 6 คน
6. ฝ่ายสวัสดิการ 7 คน ( กลุ่มของดิฉันรับผิดชอบในฝ่ายนี้
7. ฝ่ายพิธีการ กล่าวขอบคุณ 6 คน
7.1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
7.2 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
3. ตรวจบล็อก พร้อมให้คำแนะนำ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์
4. มอบหมายหน้าที่ในการไปศึกษาดูงาน
งานของฝ่ายสวัสดิการ มีดังนี้ เตรียมขนม เตรียมน้ำ เตรียมถุงดำในการใส่ขยะ เตรียมน้ำแข็ง เตรียมกระดิกเพื่อใส่น้ำแข็ง แล้วนำไปบริการให้เพื่อนๆ ได้ ทานกันในขณะที่กำลังเดินทาง
I attended the 9 / 7 August 56 ( บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 9 / 7 ส.ค. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
ร่วมเข้ารับการอบรม โครงการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม
( โครการของ อาจารย์ ณุตรา พงษ์สุผล )
วันอังคารที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
I attended the 7 / 24 July 56. (บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 7 / 24 ก.ค. 56)
Teaching and learning activities (กิจกรรมการเรียนการสอน)
เรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ดังนี้
1.กระบวนการเบื้องต้น ประกอบด้วย
-การสังเกต -การวัด -การจำแนกประเภท -การหาสัมพันธ์ระหว่างมิติกับเวลา
-การสื่อความหมาย -การคำนวณ -การพยากรณ์2.กระบวนการผสม ประกอบด้วย
-การตั้งสมมติฐาน -การกำหนดเชิงปฏิบัติการณ์ -การกำหนดและควบคุมตัวแปร
-การตีความหมานข้อมูล -การสรุปความ
3.วิธีการจัด ประกอบด้วย
-จัดแบบดป็นทางการ -จัดแบบไม่เป็นทางการ
-จัดตามเหตุการณ์
4.วิธีการใช้สื่อ ประกอบด้วย
-การเลือก -การเตรียม
-การลงมือใช้ -การประเมิน
จากนั้นดูโทรทัศน์ครู
เรื่อง Project Approach
จากโรงเรียนเกษมพิทยา ชั้นอนุบาล 3
ลักษณะของ Project Approach มี 5 ลักษณะด้วนกัย คือ
ลักษณะที่ 1 การอภิปราย คือ การที่ให้เด็กมีส่วนร่วม
ลักษณะที่ 2 การนำเสนอประสบการณ์เดิม คือ สิ่งที่เด็กมีความรู้มีประสบการณ์เดิมอยู่แล้ว
ลักษณะที่ 3 การทำงานภาคสนาม คือ การนำนักเรียนไปทัศนะศึกษานอกห้องเรียน
การไปหาข้อมูลจริงและน่าเชื่อถือได้
ลักษณะที่ 4 การสืบค้น คือ หาข้อมูลเมื่อเด็กถามจะได้ตอบถูก
ลักษณะที่ 5 การจัดแสดง คือ การนำผลงานของเด็กๆมาจัดแสดง เช่น การจัดนิทัศการ
วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
I attended 6 / 17 July 56 (บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 6 / 17 ก.ค. 56)
Teaching and learning activities (กิจกรรมการเรียนการสอน)
หมายเหตุ: วันนี้อาจราย์งดการเรียนการสอน แต่มางานดังนี้ นำสื่อทั้ง 3 ชิ้นทางวิทยาศาสตร์ มาเพิ่มลงในบล็อกแล้วอาจารย์จะตรวจสอบภายหลังสื่อทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง 3
ชิ้น มีดังนี้
สื่อชิ้นที่ 1 สื่อที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง
ร่มชูชีพ
วัสดุอุปกรณ์
1. ถุงพลาสติก 2. กรรไกร
3. เชือก หรือ เส้นด้าย 4. ดินน้ำมัน
วิธีการทำ
1. นำกรรไกรมาตัดถุงพลาสติกให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส
2. นำเชือกมาผูกที่มุมทั้งสี่ด้านของถุงที่ตัดไว้
3. นำดินนำมันมาถ่วงไว้ที่ปลายเชือกทั้งสี่ด้าน
วิธีการเล่น
ปล่อยร่มชูชีพจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ หรือโยนขึ้นไปบนท้องฟ้าร่มชูชีพจะค่อยๆ หล่นลงมาอย่างช้าๆ
หลักการวิทยาศาสตร์
เนื่องจากภายในอากาศมีแรงดันอยู่แล้ว เมื่อมีการปล่อยให้ร่มชูชีพหล่นลงมาเอง เพราะในอากาศนั้นมีแรงดันอยู่แล้ว
สื่อชิ้นที่ 2 การทดลอง
กระดาษลอยได้
วัสดุอุปกรณ์
1.ซองกระดาษ 2.ดินน้ำมัน 3.ขวด 4.แกนไม้ 5.เทียนไข 6.ไม้ขีดไฟ 7.ฐานตั้งรูปสามเหลี่ยม
วิธีการทำ
1.นำซองกระดาษมาติดไว้ที่ปลายไม้ที้งสองด้าน
2.นำดินน้ำมันมาตั้งบนที่ตั้งสามเหลี่ยมแล้วนำไปตั้งบนขวด
3.นำไม้ไปตั้งบนปากขวดโดยให้มีระดับที่เท่ากัน
วิธีการเล่น
นำไม้ขีดไฟมาจุดที่แทนไขแล้วไปตั้งใต้วองกระโาษข้างใดข้างหนึ่งข้างที่มีแทนอยู่กระดาษจะลอยขึ้นข้างบน
หลักการวิทยาศาสตร์
เป็นเพราคุณสมบัติของอากาศที่เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวและลอยสูงขึ้น จึงทำให้ซองกระดาษลอยตัว เหมือนกับโคมลอยนั่นเอง
เป็นเพราคุณสมบัติของอากาศที่เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวและลอยสูงขึ้น จึงทำให้ซองกระดาษลอยตัว เหมือนกับโคมลอยนั่นเอง
สื่อชิ้นที่ 3 สื่อเข้ามุม
วงจรชีวิตกบ
วัสดุอุปกรณ์
1.กระดาษ 100 ปอด์น 2.กรรไกร 3.สีไม้
4.กระดาษลัง 5.กาว 6.ดินสอ-ยางลบ
วิธีการทำ
1.นำกรดาษลัง และกระดาษ 100 ปอด์นมาติดเป็นรูปวงกลม แล้วตัดด้วยกรรไกร
2.นำกาวมาติดที่กระดาษลังกับกระดาษ 100 ปอด์น
3.วาดภาพกบลงไปในกระดาษ 100 ปอด์น
4.ระบายสี
5.เจาะรูตรงกลสงแล้ว นำที่ติดมแปะตรงกลาง
วิธีการเล่น
หมุนกระดาษตามลูกศรที่กำหนดจะพบกับการเปลี่ยนแปลงของกบ
หลักการและเหตุผล
กบมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ตอนแรกจะเป็นไข่ ต่อมาเป็นลูกอ็อด ต่อมาเป็นลูกกล และเป็นกบในที่สุด ทั้งนี้เพราะเกิดจากวงจรการเกิดแก่จับตาย และมีการสืบพันธ์อยู่เรื่อยๆๆ
วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
I attended 5 / 10 July 56 (บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 5 / 10 ก.ค. 56)
Teaching and learning activities (กิจกรรมการเรียนการสอน)
อาจารย์ให้ออกมานำเสนอสิ่งประดิษฐ์วิทยาสาสตร์ ของตนเอง ที่ไปหามา ดิฉันนำเสนอดังนี้
เรื่อง ร่มชูชีพ
วัสดุอุปกรณ์
1. ถุงพลาสติก 2. กรรไกร 3. ดินน้ำมัน 4. เชือก
วิธีการทำ
1. นำกรรไกรมาตัดถุงพลาสติกให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส
2. นำเชือกมาผูกที่มุมที้งสี่ด้าน
3. นำดินน้ำมันมาถ่วงไว้ที่ปลายของเชือกทั้งสี่ด้าน โดยทีฃั้งสี่ด้านความยาวของเชือกต้องเท่ากัน
วิธีการเล่น
ปล่อยร่มชูชีพออกจากมือ หรือโยนให้สูงเพื่อที่ร่มชูชีพจะหล่นลงมาช้าๆ
เพราะอะไร ?
เนื่องจากในอากาศมีแรงดันทำให้ร่มชูชีพลอยตัวอยู่ในอากาศและหล่นลงสู่พื้นอย่างช้าๆ
ภาพการรายงาน การนำเสนอสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์
งานที่ได้รับมอบหมาย
หาสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ มี 3 เรื่อง ดังนี้
1. ของเล่น
2. การทดลอง
3. เล่นตามมุม
ใครนำเสนอเรื่องไหนแล้ว สัปดาห์ต่อไปให้นำเสนอหัวข้อที่เหลื
วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
I attended the 4 / 3 July 56 (บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 4 / 3 ก.ค. 56)
Teaching and learning activities (กิจกรรมการเรียนการสอน)
ดูสื่อที่อาจารย์นำมาให้ดูแล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลงมามันจากการสังเกตพบการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
1.มองลงไปจะเห็นเป็นสีดำ
2.จะมีเสียงออกมาจากกล่อง
3.มองไปในสุดมีด ต้นทางจะมีแสง
4.มองในแนวเฉียงจะมีลูกปิงปองไหลลงมา
ทำให้เกิดแนวคิดพื้นฐาน ดังนี้ เกิดการเปลี่ยนแปลง ความแตกต่าง การพึ่งพาอาศัย และความสมดุล
จากนั้นอาจารย์แจกกระดาษให้ตัดเป็น 8 ชิ้น แล้ววาดภาพตามที่เราชอบตามลำดับที่สมบูรณ์
ดิฉัน เลือกที่จะวาดภาพดอกไม้
จากนั้นดู VDO เรื่อง วิทยาศาสตร์แสนสนุก ตอน มหัศจรรย์ของน้ำ
น้ำเป็นส่วนประกอบหลักของร่างกายมนุษย์มากถึง 70% ส่วนในสัตว์และผลไม้มีน้ำอยู่ 90% หากร่างกายขาดน้ำเกิน 3 วันอาจจะเป็นอันตรายได้ แต่อูฐในทะเลทรายจะสามารถอยู่ได้นานครั้งละ 10 วัน
คุณสมบัติของน้ำ
-ของแข็ง ได้แก่ น้ำแข็ง
-ของเหลว ได้แก่ น้ำที่เราใช้ในชีวิตประจำวัน
-ก๊าส ได้แก่ ไอน้ำ
น้ำแข็งเป็นของเหลวจากของเหลวกลายเป็นไอน้ำ เมื่อไอน้ำรวมกับของเย็นในอากาศจะกลายเป็ยของเหลว
การทดลอง
-น้ำระเหยเมื่อได้รับความร้อน (การระเหย)
-น้ำเกลือจะมีความหนาแน่นกว่าน้ำธรรมดา (แรงโน้มถ่วง)
-น้ำเกลือสามารถดูดความร้อนทำให้อากาศในยริเวณนั้นลดลง (การดูดซึม)
-การกดดันของน้ำบริเวณผิวน้ำจะมีแรงกดดันน้อยกว่าใต้น้ำ ยิ่งลึกยื่งมีความกดดันมาก
(ความดันน้ำ)
-เมื่อผิวของน้ำโดนอากาศจะมีแรงตึงมาก (แรงตึงผิว)
งานที่ได้รับมอบหมาย
-Link แนวทางการจัดการการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัยตามหลักสูตร ปี 2546
-หาของเล่นที่ทำจากวัสดุเหลือใช้ แล้วเขียนวิธีการทำมาส่ง
-หาใบไม้แห้งมา 1 ใบ
I attended the 3 / 26 June 56 (บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 3 / 26 มิ.ย. 56)
Teaching and learning activities (กิจกรรมการเรียนการสอน)
ดู VDO เรื่อง ความลับของแสงแสงเกิดจากการสะท้อน ของสิ่งต่างๆๆ รอบตัวเรา แสงส่งผ่านมาเป็นเส้นตรงอย่างเดียวโดยไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง
วัตถุที่แสงผ่านได้ คือ วัตถุโปร่งแสง และวัตถุไม่โปร่งแสง เช่น ไม้ หิน เหล็ก
-วัตถุโปร่งแสง แสงจะทะลุได้เป็นบางส่วนเท่านั้น เช่น กระจกมัวแสง
-วัตถุโปร่งใส วัตถุที่แสงผ่นไปได้ทั้งหมด เช่น กระจกใส พลาสติกใส เป็นต้น
คุณสมบัติของแสง
-การสะท้อนแสง แสงจะสะท้อนไปในทางตรงกันข้ามกับทิศทางการส่องของต้นกำเนิดแสงลงมาเสมอ และมีประโยชน์ในการมองภาพ เช่น การส่องกระจก ภาพที่ออกมาจะเป็นทิศทางตรงกันข้ามกับตัวเองเสมอ
-การหักเหของแสง แสงเดินทางผ่านวัตถุ เช่น แสงเดินทางผ่านน้ำ แสงจะเดินทางช้ากว่าอากาศทำให้การหักเหของแสงมีการหักเหเหนือแผ่นผิวน้ำ
-เงา เงาเกิดจากแสงที่ส่องลงมาแล้วเกิดการหักเห
สามารถนำมาสรุปเป็นทางวิทยาศาสตร์ ได้ดังนี้
I attended the 2 / 19 June 56 (บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 2 / 19 มิ.ย. 56)
Teaching and learning activities. (กิจกรรมการเรียนการสอน)
อาจารย์อธิบายวิธีการส่งงาน คือ เขียนชื่อ วันเวลาที่เรียน เลขที่ กลุ่มเรียนไว้มุมบนด้านขวาทุกครั้ง
จากนั้นแบ่งกลุ่มๆละ 6 คน เพื่อศึกษาวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยแล้วสรุปมาเป็นกลุ่มๆพร้อมทั้งแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนต่างกลุ่มแล้วนำมาเสนอหน้าชั้นเรียน ดังนี้
กลุ่มที่ 1 ความหมายของวิทยาสาสตร์
กลุ่มที่ 2 ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
กลุ่มที่ 3 พัฒนาการทางสติปัญญาทางวิทยาศาสตร์
กลุ่มที่ 4 การเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
กลุ่มที่ 5 แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ (กลุ่มของดิฉันเอง)
กลุ่มที่ 6 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และผลผลิตทางวิทยาศาสตร์
I attended the 1 / 12 June 56 (บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 1 / 12 มิ.ย .5)6
Teaching and learning activities. (กิจกรรมการเรียนการสอน)
เริ่มแรกอาจารย์ แจก Course Syllabus เพื่อชี้แจงรายละเอียดของรายวิชานี้ พร้อมทั้งอธิบายว่าจะต้องบันทึกงานไว้ในบล็อก ชี้แจงเกี่ยวกับการให้คะแนน ข้อตกลงในการเรียน ส่วนการบันทึกงานลงในบล็อกเทอมนี้จะต้องมีการบันทึกเป็นภาษาอังกฤษควบคู่ไปกับภาษาไทย
ส่วนเนื้อหาของวิชานี้คร่าวๆ คือ การจัดประสบกาณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยเครื่องมือในการเรียนรู้ ของมนุษย์มี 2 อย่าง คือ ภาษาและคณิตศาสตร์
จากนั้นอาจารย์ให้ไปศึกษาเกี่ยวกับวิชานี้และเริ่มบันทึกบล็กในครั้งแรก พร้อมทั้งนำมาลิงด์ในสัปดาห์ต่อไป
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)