Science Experiences Management for Early Childhood
การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอาทิตย์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2556
29 September 2556 ( บันทึกการเข้าเรียน วันที่ 29 สิงหาคม 2556)
Teaching and learning activities
(กิจกรรมการเรียนการสอน) การเรียนชดเชย
อาจารย์ให้อกไปนำเสนองานวิทยาศาสตร์ทั้ 3 ชิ้น ของตัวเอง
สื่อชิ้นที่ 1 สื่อที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง
ร่มชูชีพ
วัสดุอุปกรณ์
1. ถุงพลาสติก 2. กรรไกร
3. เชือก หรือ เส้นด้าย 4. ดินน้ำมัน
วิธีการทำ
1. นำกรรไกรมาตัดถุงพลาสติกให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส
2. นำเชือกมาผูกที่มุมทั้งสี่ด้านของถุงที่ตัดไว้
3. นำดินนำมันมาถ่วงไว้ที่ปลายเชือกทั้งสี่ด้าน
วิธีการเล่น
ปล่อยร่มชูชีพจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ หรือโยนขึ้นไปบนท้องฟ้าร่มชูชีพจะค่อยๆ หล่นลงมาอย่างช้าๆ
หลักการวิทยาศาสตร์
เนื่องจากภายในอากาศมีแรงดันอยู่แล้ว เมื่อมีการปล่อยให้ร่มชูชีพหล่นลงมาเอง เพราะในอากาศนั้นมีแรงดันอยู่แล้ว
สื่อชิ้นที่ 2 การทดลอง
กระดาษลอยได้
วัสดุอุปกรณ์
1.ซองกระดาษ 2.ดินน้ำมัน 3.ขวด 4.แกนไม้ 5.เทียนไข 6.ไม้ขีดไฟ 7.ฐานตั้งรูปสามเหลี่ยม
วิธีการทำ
1.นำซองกระดาษมาติดไว้ที่ปลายไม้ที้งสองด้าน
2.นำดินน้ำมันมาตั้งบนที่ตั้งสามเหลี่ยมแล้วนำไปตั้งบนขวด
3.นำไม้ไปตั้งบนปากขวดโดยให้มีระดับที่เท่ากัน
วิธีการเล่น
นำไม้ขีดไฟมาจุดที่แทนไขแล้วไปตั้งใต้วองกระโาษข้างใดข้างหนึ่งข้างที่มีแทนอยู่กระดาษจะลอยขึ้นข้างบน
หลักการวิทยาศาสตร์
เป็นเพราคุณสมบัติของอากาศที่เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวและลอยสูงขึ้น จึงทำให้ซองกระดาษลอยตัว เหมือนกับโคมลอยนั่นเอง
เป็นเพราคุณสมบัติของอากาศที่เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวและลอยสูงขึ้น จึงทำให้ซองกระดาษลอยตัว เหมือนกับโคมลอยนั่นเอง
สื่อชิ้นที่ 3 สื่อเข้ามุม
วงจรชีวิตกบ
วัสดุอุปกรณ์
1.กระดาษ 100 ปอด์น 2.กรรไกร 3.สีไม้
4.กระดาษลัง 5.กาว 6.ดินสอ-ยางลบ
วิธีการทำ
1.นำกรดาษลัง และกระดาษ 100 ปอด์นมาติดเป็นรูปวงกลม แล้วตัดด้วยกรรไกร
2.นำกาวมาติดที่กระดาษลังกับกระดาษ 100 ปอด์น
3.วาดภาพกบลงไปในกระดาษ 100 ปอด์น
4.ระบายสี
5.เจาะรูตรงกลสงแล้ว นำที่ติดมแปะตรงกลาง
วิธีการเล่น
หมุนกระดาษตามลูกศรที่กำหนดจะพบกับการเปลี่ยนแปลงของกบ
หลักการและเหตุผล
กบมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ตอนแรกจะเป็นไข่ ต่อมาเป็นลูกอ็อด ต่อมาเป็นลูกกล และเป็นกบในที่สุด ทั้งนี้เพราะเกิดจากวงจรการเกิดแก่จับตาย และมีการสืบพันธ์อยู่เรื่อยๆๆ
วันพฤหัสบดีที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2556
I attended the 16 / 25 September 56 ( บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 16 / 25 ก.ย. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
I attended the 15 / 18 September 56 ( บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 15 / 18 ก.ย. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
วันนี้การเรียนในห้องเรียนคือ การทำไข่ตุ๋น
วัสดุ
ไข่ไก่ ผงปรุงรส แครอท มะเขือเทศ
ซีอิ๊วขาว เนื้อไก่ หรือเนื้อหมู เห็ดหอม ผักชี น้ำเปล่า
อุปกรณ์
มีด เขียง ถ้วย หม้อนึ่ง ช้อน ที่ตีไข่
วิธีทําไข่ตุ๋นมีดังนี้
1. ตอกไข่ใส่ชาม ตีไข่โดยใช้ตะเกียบคนจากซ้ายไปขวา หรือ บนลงล่างเท่านั้น
2. เติมอุซึคุจิโชยุ หรือ ซีอิ๊วขาวลงไป สีของไข่จะออกคล้ำขึ้นเล็กน้อย
3. ใส่ผงปรุงรสที่ละลายน้ำแล้วลงไปคนให้เข้ากัน
4. ขั้นตอนสำคัญ คือต้องกรองไข่ที่ตีแล้วด้วยกระชอนตาถี่ หรือผ้าขาวบางก็ได้ลงในกะมังอีกใบหนึ่งเศษไข่ขาวที่ติดในกระชอนทิ้งไปได้เลย
5. เปิดแก็ส ตั้งลังนึ่ง ใส่น้ำ และเปิดไฟแรงจัด
6. แบ่งเครื่องปรุงต่างๆ พวกเนื้อไก่, เห็ดหอม, แปะก๊วย,เนื้อปลา,ลูกชิ้นปลา,ผักชี ใส่ถ้วยทั้ง 4ถ้วยให้เรียบร้อย
7. เอาไข่ที่เราเตรียมไว้แล้วแบ่งใส่ถ้วยให้เท่าๆกัน ปิดด้วยฟอยล์เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำหยดลงบนไข่ตุ๋น
8. เมื่อน้ำที่เราตั้งไว้เดือดเรียบร้อยแล้วให้หรี่ไฟให้อ่อนที่สุด แล้วนำไข่ตุ๋นที่ใส่ถ้วยเตรียมไว้ไปใส่ในลังนึ่งนึ่งไปสักประมาณ 15 นาทีก็เป็นอันเสร็จพิธี ก็จะได้ไข่ตุ๋นโอชินที่มีเนื้อเนียนน่ารับประทาน
ข้อควรระวัง: อย่าใช้ช้อนส้อมคนไข่มากเกินไปจนเกิดฟอง, อย่าลืมกรองไข่ก่อนนำไข่ไปตุ๋น และ อย่าเปิดไฟแรงเกินไป มิฉะนั้นไข่ตุ๋นจะหน้าไม่เนียน
I attended 15 September 56 ( บันทึกการเข้าเรียน 15 ก.ย. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
การเรียนชดเชย
อาจารย์ได้ให้คำแนะนำในการปรับปรุงแก้ไข blogger ของนักศึกษาแต่ละคน
อาจารย์ให้นักศึกษา ทำกิจกรรมกลุ่ม "เขียนแผนการสอนวิทยาศาสตร์ในการทำอาหารสำหรับเด็ก"
- อาจารย์ให้นักศึกษาเดินมาหยิบกระดาษชาร์ตกลุ่มละ 4แผ่น และสีเมจิกลุ่มละ 4 อัน
- อาจารย์บอกว่าวันนี้เราจะมาเรียนในเรื่องการทำอาหารที่เหมาะสำหรับเด็ก
- อาจารย์และนักศึกษาได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าอาหารอะไรที่เหมาะสำหรับเด็ก บ้างให้เขียนลงในกระดาษ ชาร์ตที่อาจารย์ได้แจก และให้นักศึกษาแตกแมทออกไป
ความรู้ที่ได้รับ
1. การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ในสิ่งที่เด็กอยากรู้
2. ได้รับฟังและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนกลุ่มอื่นๆ
การนำไปประยุกต์ใช้
1. การจัดประสบการณ์การทำอาหารให้กับเด็กปฐมวัย
2. การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ไว้ล่วงหน้าก่อนการสอนจะเป็นผลดีแก่ครูและนักเรียน
ส่งอีเมลข้อมูลนี้
I attended the 14 / 11 September 56 ( บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 14 / 11 ก.ย. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
***ไม่มีการเรียนการสอนอาจารย์จะสอนชดเชยในวันที่ 15 กันยายน 2556
I attended the 13 / 4 September 56 ( บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 13 / 4 ก.ย. 56 )
Teaching and learning activities ( กิจกรรมการเรียน การสอน )
***ไมมีการเรียนการสอนแต่อาจารย์จะชดเชยให้ในวันที่ 15 กันยายน 2556
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)